ห้องปฏิบัติการกลาง ประเทศไทย
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.
หน้าหลัก | กระดานความรู้ | อัพเดท
Translate to English

เรื่องน่ารู้ จะใช้ปุ๋ย "มูลสัตว์" ควรหมักก่อน

ก่อนหน้านี้เราได้แนะนำปุ๋ยวิทยาศาสตร์ กันไปแล้ว ทั้งปุ๋ยแบบเม็ดละลายน้ำธรรมดา และ ปุ๋ยละลาช้าแสนสะดวก ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ให้ธาตุอาหารที่พืชต้องการและพืชนำไปใช้ง่ายก็จริงอยู่ แต่ไม่ได้เพิ่ม อินทรีย์วัตถุในดิน และไม่ได้ปรับปรุงโครงสร้างของดินมากพอ วันนี้จึงมา แนะนำ มูลสัตว์ หรือ ปุ๋ยคอก เพื่อทำให้ดินที่ใช้ปลูกต้นไม้สมบรูณ์และมีโครงสร้างดินที่ดีมากขึ้น มีรายละเอียดดังนี้คะ

ไม่ว่าจะเป็น ขี่ไก่ ขี่วัว ขี่หมู ขี่ค้างคาว เราอาจเรียกง่ายๆเมื่อนำมาใส่ต้นไม้ ว่า ปุ๋ยคอก มูลสัตว์แต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติแตกต่างกันไปเมื่อนำมาทำปุ๋ย เช่น มูลสุกร มูลไก่ และมูลค้างคาว มีธาตุอาหารหลักอยู่สูง ต่างจาก มูลโคและมูลกระบือ ที่มีธาตุอาหารต่ำกว่ามูลสัตว์ชนิดอื่นเพราะเป็นสัตว์กินหญ้า ขอดีของมูลสัตว์ คือ จะให้ธาตุอาหารรองคือ แคลเซียม แมกนีเซียม กำมะถัน และธาตุอาหารเสริม เช่น เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดีนัม และคลอรีน ซึ่งมีความหลากหลายและยังรับสภาพโครงสร้างของดินในเวลาเดียวกัน

การให้ปุ๋ยคอก ที่ยังสดอยู่กับต้นไม้ คือ วัวขี่ออกมาก็ตักไปใส่ต้นไม้เลย สามารถทำได้ครับ แต่เราจะได้กลิ่น แมลง หนอน มด ตามมาด้วย และกว่าปุ๋ยคอกจะย่อยสลายต้องใช้เวลานาน กว่าที่พืชจะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ระหว่างการย่อยสลายของมูลสัตว์นี้เอง จุลินทรีย์ในดินจะดึงไนโตรเจนจากพืชมาช่วยในการย่อยสลายปุ๋ยคอก จึงทำให้พืชขาดไนโตรเจนในช่วงนั้นจนเป็นสาเหตุให้ใบเหลือง จุลินทรีย์ในมูลสัตว์จะเริ่มไปกัดกินรากพืช ด้วย

ฉะนั้นแล้ว ก่อนใช้มูลสัตว์ เราจึงควรหมักมูลสัตว์หรือนำไปตากให้แห้งก่อน อาจนำไปทำปุ๋ยหมักร่วมกับแกลบ ขี้เลื่อย ฟางข้าว ให้เกิดกระบวนการย่อยสลาย เพื่อที่พืชจะสามารถนำธาตุอาหารที่อยู่ในปุ๋ยคอกหมักไปใช้ได้เลย สำหรับการใช่ปุ๋ยคอกับสนามหญ้าในบ้านไม่แนะนำเนื่องจาก มูลสัตว์ มีปัญหาเมล็ดวัชพืชปะปนมา จะทำให้สนามหญ้ามีวัชพืชขึ้นเต็มไปหมด สรุปแบบง่ายก็คือ มูลสัตว์ควรนำไปหมักเป็นปุ๋ยหมักเสียก่อนจึงจะดี ส่วนมูลสัตว์แห้งเหมาะสำหรับใส่ รอบโคนไม้ผล หรือรองก้นหลุมก่อนปลูกต้นไม้ใหญ่ จะเหมาะกว่าคะ


ข้อมูลจาก http://link..

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ให้บริการตรวจวิเคราะห์ต่างๆ ทั้งผลิตภัณฑ์อาหาร และ ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร

เลือกตรวจวิเคราะห์ออนไลน์กับเราได้ที่ เมนูหลักเลือกตรวจวิเคราะห์

โดย admin 2565/10/08 15:40:11
อ่าน: 251, ความเห็น: 0, e

ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ตรวจธาตุอาหารในมูลสัตว์ , ตรวจจุลินทรีย์ในมูลสัตว์ , ตรวจปุ๋ยคอก




พิมพ์ตัวเลข ↑
คุณต้องการตรวจวิเคราะห์ ?
ฉลากโภชนาการ
สารสำคัญกัญชา/กัญชง
น้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application

Line @FarmKaset
สอบถามเพิ่มเติม
คุณปริม โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

สะดวกมากขึ้น
1.กรอกฟอร์มออนไลน์ และโอนชำระเงิน
2.ส่งตัวอย่างมาที่ห้องแล็บ
3.รอรับผลทางไปรษณีย์ อีเมล์และไลน์

การตรวจ ผลิตภัณฑ์ กัญชง กัญชา ให้ได้มาตรฐาน ถูกต้องตามกฎหมายรับรอง
Update: 2566/08/30 08:27:01
อ่าน: 646 ความเห็น: 0
ฉลากโภชนาการ ประโยชน์ที่เจ้าของสินค้า ไม่ควรมองข้าม
Update: 2566/08/30 08:23:39
อ่าน: 674 ความเห็น: 0
ตรวจ GMP น้ำ กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:22:00
อ่าน: 908 ความเห็น: 0
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี กับ centrallab.online
Update: 2565/12/15 07:03:41
อ่าน: 947 ความเห็น: 0
ตรวจวิเคราะห์ดิน ปรับการใช้ปุ๋ย ไม่ว่าปลูกพืชอะไร ก็ได้ผลผลิตที่ดีขึ้น ลดต้นทุนปุ๋ยได้สูงกว่าจ่ายค่าตรวจดินหลายเท่า
Update: 2565/12/15 06:51:14
อ่าน: 1093 ความเห็น: 0
ปลาร้าสับผัดสุก รสแซ่บ…
Update: 2565/12/08 14:50:25
อ่าน: 894 ความเห็น: 0
กัญชา ปรุงยังไงไห้เป็นเมนูที่ถูกต้อง และ ปลอดภัย !!
Update: 2565/12/08 14:24:35
อ่าน: 908 ความเห็น: 0
ผักอินทรีย์ คือ ผักปลอดสารพิษ หรือเปล่า?
Update: 2565/12/08 14:18:27
อ่าน: 894 ความเห็น: 0
ต้นทุนต่ำ สร้างรายได้ตลอดปี เลี้ยง ปลาสลิด ในบ่อปูนซีเมนต์
Update: 2565/12/08 14:00:22
อ่าน: 956 ความเห็น: 0
ใครป่วย มีอาการไอ มีเสมหะ ต้องลอง ! สมุนไพรแก้ไอ ขับเสมหะ
Update: 2565/12/08 13:55:08
อ่าน: 892 ความเห็น: 0
© CentralLab.online 2022